สะดุด ๆ คือ
- ว. ไม่ราบเรียบ (ใช้แก่ภาษาหนังสือทั้งร้อยแก้วและร้อยกรอง) เช่น เรียงความสำนวนนี้อ่านสะดุด ๆ, ตะกุกตะกัก เช่น เด็กคนนี้ยังอ่านหนังสือสะดุดมาก, ไม่สม่ำเสมอ เช่น เครื่องจักรเดินสะดุด ๆ.
- สะ ๑ ว. สวย. ๒ ก. ใส่หรือสุมเพื่อกันไว้ เช่น เอาหนามสะ.
- สะดุด ๑ ก. อาการที่เดินหรือวิ่ง ปลายเท้าไปกระทบสิ่งที่ขวางหน้า ทำให้ก้าวผิดจังหวะ เซ ถลา หรือหกล้ม เป็นต้น เช่น เขาสะดุดก้อนหินล้มลง
- ดุ ก. ว่ากล่าวหรือทักท้วงด้วยความโกรธหรือไม่พอใจเพราะมีความผิดหรือไม่อยู่ในโอวาทเป็นต้น, โดยปริยายหมายความว่า มีอันตรายมาก, มีคนเสียชีวิตมาก, เช่น
- ดุด ก. กิริยาที่หมูเอาจมูกดุนดิน.
- สะบัด ๆ ว. อาการที่พูดห้วน ๆ ไม่มีหางเสียง แสดงความไม่พอใจ เช่น แม่ค้าไม่พอใจที่ลูกค้าต่อราคามากไป จึงพูดสะบัด ๆ.
- เดินสะดุด สะดุด เดินโซเซ เดินตัวสั่น
- การสะดุด 1) n. การเดินหรือวิ่งเอาปลายเท้าไปกระทบสิ่งที่ขวางหน้า ทำให้ก้าวผิดจังหวะหรือหกล้ม 2) n. ชื่อพ้อง: การชะงัก, การหยุด, การติดขัด ตัวอย่างการใช้: การที่พนักงานไม่สามารถรวมพลังและส
- ทําให้สะดุด ทําให้โซเซ
- สะดีดสะดิ้ง v. มีกริยาที่ปรุงแต่งจนเกินงาม ชื่อพ้อง: สะดิ้ง ตัวอย่างการใช้: หล่อนสะดีดสะดิ้งราวกับว่าหล่อนไม่ชอบเขา
- สะดุ้งสะดิ้ง ว. ดัดจริตดีดดิ้น, สะดิ้ง ก็ว่า.
- สะตึ ๆ (ปาก) ว. ไม่มีอะไรดี, ไม่ได้เรื่อง, ไม่มีค่า, เช่น หนังเรื่องนี้สะตึดูแล้วเสียดายเงิน ของสะตึ ๆ อย่างนี้ไม่ซื้อหรอก.
- สะดม ก. ปล้นโดยใช้วิธีรมยาให้เจ้าของทรัพย์หลับสนิทไม่รู้สึกตัว, ใช้เข้าคู่กับคำ ปล้น เป็น ปล้นสะดม. (ข. สณฺฎํ).
- สะดวก ว. คล่อง, ไม่ติดขัด, เช่น ทางสะดวก การเดินทางสมัยนี้สะดวกกว่าสมัยก่อน, มักใช้เข้าคู่กับคำ สบาย เป็น สะดวกสบาย.
- สะดัก ก. คอย, กั้นไว้.
- สะดิ้ง (ปาก) ว. ดัดจริตดีดดิ้น เช่น ทำเป็นสะดิ้งไปได้ อย่าสะดิ้งให้มากนัก, สะดุ้งสะดิ้ง ก็ว่า.